สาขาวิชาเกษตรศาสตร์ วิชาเอก กลุ่มวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช , กลุ่มวิชาสัตวศาสตร์

ปริญญาตรี

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต

สาขาวิชาเกษตรศาสตร์

วิชาเอก กลุ่มวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช , กลุ่มวิชาสัตวศาสตร์
ชื่อหลักสูตร

ภาษาไทย              :   หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเกษตรศาสตร์ 
ภาษาอังกฤษ         :   Bachelor of Science Program in Agriculture 

ชื่อปริญญาและสาขาวิชา

ภาษาไทย
ชื่อเต็ม :  วิทยาศาสตรบัณฑิต (เกษตรศาสตร์)
ชื่อย่อ  :   วท.บ. (เกษตรศาสตร์)
ภาษาอังกฤษ
ชื่อเต็ม :  Bachelor of Science (Agriculture)
ชื่อย่อ  :  B.Sc. (Agriculture)

วิชาเอก

กลุ่มวิชา :   เทคโนโลยีการผลิตพืช
กลุ่มวิชา :   สัตวศาสตร์

จำนวนหน่วยกิตและรูปแบบของหลักสูตร

จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร
จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 128 หน่วยกิต

รูปแบบ
เป็นหลักสูตรระดับคุณวุฒิปริญญาตรี หลักสูตร 4 ปี

ประเภทหลักสูตร
เป็นหลักสูตรปริญญาตรีทางวิชาการ

ปรัชญา ความสำคัญ และวัตถุประสงค์ของหลักสูตร

ปรัชญา
   มุ่งผลิตบัณฑิตที่มีคุณธรรม เชี่ยวชาญการเกษตร เป็นนวัตกรที่เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี

ความสำคัญ
   ประเทศไทยนับเป็นประเทศที่ส่งออกอาหารรายใหญ่ของโลก ประกอบกับตามยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) ในยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคง และแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) ยุทธศาสตร์ที่ 2 การสร้างความเป็นธรรมและลดการเหลื่อมล้ำในสังคม และยุทธศาสตร์ที่ 3 การสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและแข่งขันได้อย่างยั่งยืน ได้กำหนดยุทธศาสตร์การสร้างสมดุลและความมั่นคงของอาหารและพลังงาน เพื่อสร้างฐานภาคเกษตรให้เข้มแข็ง สามารถผลิตอาหารที่มีคุณภาพและมีปริมาณเพียงพอ เพื่อให้ภาคการเกษตรเป็นฐานการผลิตที่มั่นคงของประเทศและสามารถยกระดับรายได้ของประชาชน ดังนั้นภาคเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตรจึงเป็นพื้นฐานที่สำคัญต่อเศรษฐกิจของประเทศ การผลิตบุคลากรทางการเกษตรที่มีทักษะความรู้ สามารถพัฒนาตนและประเทศชาติ มีจิตสำนึกต่อสังคม ตลอดจนคิดค้นนวัตกรรมหรือแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ได้ จึงเป็นส่วนหนึ่งในการผลักดันให้การพัฒนาประเทศบรรลุเป้าหมายดังกล่าว

วัตถุประสงค์

  • เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีคุณธรรมและจริยธรรมในการประกอบอาชีพด้านการเกษตร และการดำรงตนเป็นพลเมืองดีของสังคม
  • เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรู้และทักษะวิชาชีพด้านการเกษตรที่เท่าทันและสามารถปรับตัวรับการเปลี่ยนแปลงต่อสถานการณ์ต่าง ๆ ได้
  • เพื่อผลิตบัณฑิตที่สามารถศึกษา ค้นคว้า วิจัย และสร้างนวัตกรรมการเกษตรเพื่อพัฒนาท้องถิ่นและประเทศอย่างยั่งยืน
  • เพื่อผลิตบัณฑิตที่สามารถปฏิบัติงานในหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน หรือประกอบธุรกิจการเกษตรได้อย่างมีประสิทธิภาพ

แผนการรับนักศึกษา

สมัครออนไลน์ทางเว็บไซต์มหาวิทยาลัย (http://ent.vru.ac.th/Webregister/pages/Homepages.php) click ดาวน์โหลดใบสมัคร

สมัครด้วยตนเองที่ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ สระแก้ว
เลขที่ 1177 หมู่ 2 ตำบลท่าเกษม อำเภอเมือง จังหวัดสระแก้ว 2700

สอบถามข้อมูลได้ที่โทรศัพท์ : 037-447043
เฟสบุ๊ค : มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ สระแก้ว | Facebook

ค่าลงทะเบียนระดับปริญญาตรี

ค่าธรรมเนียมแรกเข้า 1,500 บาท
ค่าเทอมแต่ละเทอม 12,000 บาท


รวมค่าเทอมตลอดหลักสูตร 96,000 บาท

อาชีพหลังจบการศึกษา​
  1. งานราชการ, รัฐวิสาหกิจ
  2. นักวิชาการเกษตรหน่วยงานภาครัฐและเอกชน
  3. นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร
  4. นักพัฒนาท้องถิ่น
  5. ผู้ดูแลหรือผู้จัดการประจำแปลงเกษตร
  6. นักวิชาการสัตวบาลหรือสัตวบาลประจำฟาร์มหรือหน่วยงานเพาะเลี้ยงสัตว์
  7. ผู้ช่วยสัตวแพทย์ประจำคลินิกหรือโรงพยาบาลสัตว์
  8. ผู้ประกอบการด้านการเกษตรและธุรกิจการเกษตร
  9. เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการขายผลิตภัณฑ์หรือวัสดุทางการเกษตร

อ่านข้อมูลหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต ฉบับเต็ม : วท.บ. เกษตรศาสตร์

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเกษตรศาสตร์ 
Bachelor of Science Program in Agriculture 

โครงสร้างหลักสูตร แบ่งเป็นหมวดวิชา ดังนี้

1) หมวดวิชาศึกษาทั่วไป จำนวนไม่น้อยกว่า

30

หน่วยกิต

2) หมวดวิชาเฉพาะ จำนวนไม่น้อยกว่า

92

หน่วยกิต

    2.1) กลุ่มวิชาเฉพาะด้านบังคับ

43

หน่วยกิต

    2.2) กลุ่มวิชาเฉพาะด้านเลือก

42

หน่วยกิต

   2.2) กลุ่มวิชาปฏิบัติการและฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ไม่น้อยกว่า

7

หน่วยกิต

3) หมวดวิชาเลือกเสรี จำนวนไม่น้อยกว่า

 6

หน่วยกิต

จำนวนหน่วยกิต รวมตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า

128

หน่วยกิต

การจัดแผนการศึกษา

1) กลุ่มวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช

ชั้นปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมวดวิชาศึกษาทั่วไป

VGEXXX

หมวดวิชาศึกษาทั่วไป

5(X-X-X)

หมวดวิชาเฉพาะ
ด้านบังคับ

AAG111
AAG151
SBT101
SCH102
SCH103

หลักการผลิตพืช
หลักการผลิตสัตว์
ชีววิทยาพื้นฐาน
เคมีทั่วไป
ปฏิบัติการเคมีทั่วไป

3(2-2-5)
3(2-2-5)
3(2-2-5)
3(3-0-6)
1(0-3-2)

รวมหน่วยกิต

18

ชั้นปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมวดวิชาศึกษาทั่วไป

VGEXXX

หมวดวิชาศึกษาทั่วไป

9(X-X-X)

หมวดวิชาเฉพาะ
ด้านบังคับ

AAG102
SCH221

งานช่างและเทคโนโลยีการเกษตรเบื้องต้น
เคมีอินทรีย์พื้นฐาน

3(2-2-5)
3(2-2-5)

หมวดวิชาบังคับ
(เฉพาะแขนง)

SBT209

พฤกษศาสตร์

3(2-2-5)

รวมหน่วยกิต

18

ชั้นปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมวดวิชาศึกษาทั่วไป

VGEXXX

หมวดวิชาศึกษาทั่วไป

8(X-X-X)

หมวดวิชาเฉพาะ
ด้านบังคับ

SBT201
SCH258

พันธุศาสตร์
ชีวเคมี

3(3-0-6)
2(2-0-4)

หมวดวิชาบังคับ
(เฉพาะแขนง)

AAG112
AAG212

ปฐพีวิทยา
สรีรวิทยาการผลิตพืช

3(2-2-5)
3(2-2-5)

รวมหน่วยกิต

19

ชั้นปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมวดวิชาศึกษาทั่วไป

VGEXXX

หมวดวิชาศึกษาทั่วไป

4(X-X-X)

หมวดวิชาเฉพาะ
ด้านบังคับ

MEC101
SBT212

หลักเศรษฐศาสตร์
จุลชีววิทยาทั่วไป

3(3-0-6)
3(2-2-5)

หมวดวิชาบังคับ
(เฉพาะแขนง)

AAG212
AAG218
AAG219

พืชไร่เศรษฐกิจ
ไม้ดอกไม้ประดับ
หลักการไม้ผล

3(2-2-5)
3(2-2-5)
3(2-2-5)

รวมหน่วยกิต

19

ชั้นปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 1

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมวดวิชาศึกษาทั่วไป

VGEXXX

หมวดวิชาศึกษาทั่วไป

4(X-X-X)

หมวดวิชาเฉพาะ
ด้านบังคับ

MGM212
SMS103

การเป็นผู้ประกอบการสำหรับธุรกิจเกษตร
หลักสถิติ

3(3-0-6)
3(3-0-6)

หมวดวิชาบังคับ
(เฉพาะแขนง)

AAG220

ศัตรูพืชและการป้องกันกำจัด

3(2-2-5)

วิชาเลือก

AAG332
AAG333

เทคโนโลยีเมล็ดพันธุ์
เทคโนโลยีการผลิตเห็ด

3(2-2-5)
3(2-2-5)

รวมหน่วยกิต

19

ชั้นปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 2

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมวดวิชาเฉพาะ
ด้านบังคับ

AAG306
AAG312

ระเบียบวิธีวิจัยทางการเกษตร
ระบบเกษตรยั่งยืน

3(2-2-5)
3(3-0-6)

หมวดวิชาบังคับ
(เฉพาะแขนง)

AAG329
AAG414

การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อของพืชเพื่อการเกษตร
เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว

3(2-2-5)
3(2-2-5)

วิชาเลือก

AAG415
AAG425

การปรับปรุงพันธุ์พืช
นวัตกรรมเกษตรกึ่งเมือง

3(2-2-5)
3(2-2-5)

หมวดวิชาเฉพาะ
(วิชาปฏิบัติการฯ)

AAG302

AAG301

เตรียมสหกิจศึกษาเกษตรศาสตร์
หรือ
การเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพเกษตรศาสตร์

1(45)

2(90)

รวมหน่วยกิต

19 หรือ 20

ชั้นปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 1

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมวดวิชาเฉพาะ
(วิชาปฏิบัติการฯ)

AAG401

AAG402

UBI101

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพเกษตรศาสตร์
หรือ
สหกิจศึกษาเกษตรศาสตร์
หรือ
การสร้างและพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการใหม่

3(320)

6(640)

7(640)

รวมหน่วยกิต

3,6 หรือ 7

ชั้นปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 2

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมวดวิชาเฉพาะ
ด้านบังคับ

AAG403

สัมมนาทางการเกษตร

1(0-2-1)

หมวดวิชาบังคับ
(เฉพาะแขนง)

AAG331

หลักการส่งเสริมการเกษตรและเทคโนโลยีสารสนเทศ

3(3-0-6)

หมวดวิชาเฉพาะ
(วิชาปฏิบัติการฯ)

AAG405

ปัญหาพิเศษและนวัตกรรมทางการเกษตร
(เฉพาะกลุ่มฝึกประสบการณ์วิชาชีพ)

3(0-6-3)

วิชาเลือกเสรี

XXXXXX
XXXXXX

วิชาเลือกเสรี 1
วิชาเลือกเสรี 2

3(X-X-X)
3(X-X-X)

รวมหน่วยกิต

10 หรือ 13


 

2) กลุ่มวิชาสัตวศาสตร์

ชั้นปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมวดวิชาศึกษาทั่วไป

VGEXXX

หมวดวิชาศึกษาทั่วไป

5(X-X-X)

หมวดวิชาเฉพาะ
ด้านบังคับ

AAG111
AAG151
SBT101
SCH102
SCH103

หลักการผลิตพืช
หลักการผลิตสัตว์
ชีววิทยาพื้นฐาน
เคมีทั่วไป
ปฏิบัติการเคมีทั่วไป

3(2-2-5)
3(2-2-5)
3(2-2-5)
3(3-0-6)
1(0-3-2)

รวมหน่วยกิต

18

ชั้นปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมวดวิชาศึกษาทั่วไป

VGEXXX

หมวดวิชาศึกษาทั่วไป

9(X-X-X)

หมวดวิชาเฉพาะ
ด้านบังคับ

AAG102
SCH221

งานช่างและเทคโนโลยีการเกษตรเบื้องต้น
เคมีอินทรีย์พื้นฐาน

3(2-2-5)
3(2-2-5)

หมวดวิชาบังคับ
(เฉพาะแขนง)

SBT206

สัตววิทยา

3(2-2-5)

รวมหน่วยกิต

18

ชั้นปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมวดวิชาศึกษาทั่วไป

VGEXXX

หมวดวิชาศึกษาทั่วไป

8(X-X-X)

หมวดวิชาเฉพาะ
ด้านบังคับ

SBT201
SCH258

พันธุศาสตร์
ชีวเคมี

3(3-0-6)
2(2-0-4)

หมวดวิชาบังคับ
(เฉพาะแขนง)

AAG254
AAG256

กายวิภาคและสรีรวิทยาของสัตว์
อาหารและโภชนศาสตร์สัตว์

3(2-2-5)
3(2-2-5)

รวมหน่วยกิต

19

ชั้นปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมวดวิชาศึกษาทั่วไป

VGEXXX

หมวดวิชาศึกษาทั่วไป

4(X-X-X)

หมวดวิชาเฉพาะ
ด้านบังคับ

MEC101
SBT212

หลักเศรษฐศาสตร์
จุลชีววิทยาทั่วไป

3(3-0-6)
3(2-2-5)

หมวดวิชาบังคับ
(เฉพาะแขนง)

AAG252
AAG253
AAG355

พืชอาหารสัตว์และการจัดการแปลงหญ้า
โรคและการสุขาภิบาลสัตว์ทั่วไป
การผลิตสัตว์ปีก

3(2-2-5)
3(2-2-5)
3(2-2-5)

รวมหน่วยกิต

19

ชั้นปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 1

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมวดวิชาศึกษาทั่วไป

VGEXXX

หมวดวิชาศึกษาทั่วไป

4(X-X-X)

หมวดวิชาเฉพาะ
ด้านบังคับ

MGM212
SMS103

การเป็นผู้ประกอบการสำหรับธุรกิจเกษตร
หลักสถิติ

3(3-0-6)
3(3-0-6)

หมวดวิชาบังคับ
(เฉพาะแขนง)

AAG356
AAG363
AAG364

การผลิตสุกร
การผลิตโคนมและผลิตภัณฑ์นม
การผลิตสัตว์เคี้ยวเอื้อง

3(2-2-5)
3(2-2-5)
3(2-2-5)

รวมหน่วยกิต

19

ชั้นปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 2

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมวดวิชาเฉพาะ
ด้านบังคับ

AAG306
AAG312

ระเบียบวิธีวิจัยทางการเกษตร
ระบบเกษตรยั่งยืน

3(2-2-5)
3(3-0-6)

หมวดวิชาบังคับ
(เฉพาะแขนง)

AAG360

การปรับปรุงพันธุ์สัตว์

3(3-0-6)

วิชาเลือก

AAG468
AAG470

ระบบสืบพันธุ์และการผสมเทียม
วิทยาศาสตร์เนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์

3(2-2-5)
3(2-2-5)

วิชาเลือกเสรี

XXXXXX

วิชาเลือกเสรี 1

3(X-X-X)

หมวดวิชาเฉพาะ
(วิชาปฏิบัติการฯ)

AAG302

AAG301

เตรียมสหกิจศึกษาเกษตรศาสตร์
หรือ
การเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพเกษตรศาสตร์

1(45)

2(90)

รวมหน่วยกิต

19 หรือ 20

ชั้นปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 1

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมวดวิชาเฉพาะ
(วิชาปฏิบัติการฯ)

AAG401

AAG402

UBI101

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพเกษตรศาสตร์
หรือ
สหกิจศึกษาเกษตรศาสตร์
หรือ
การสร้างและพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการใหม่

3(320)

6(640)

7(640)

รวมหน่วยกิต

3,6 หรือ 7

ชั้นปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 2

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

หมวดวิชาเฉพาะ
ด้านบังคับ

AAG403

สัมมนาทางการเกษตร

1(0-2-1)

วิชาเลือก

AAG461
AAG471

ปศุสัตว์อินทรีย์
อุตสาหกรรมปศุสัตว์และการจัดการธุรกิจ

3(2-2-5)
3(3-0-6)

หมวดวิชาเฉพาะ
(วิชาปฏิบัติการฯ)

AAG405

ปัญหาพิเศษและนวัตกรรมทางการเกษตร
(เฉพาะกลุ่มฝึกประสบการณ์วิชาชีพ)

3(0-6-3)

วิชาเลือกเสรี

XXXXXX

วิชาเลือกเสรี 2

3(X-X-X)

รวมหน่วยกิต

10 หรือ 13

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา

  1. นักวิจัยหรือนักวิชาการเกษตรในหน่วยงานภาครัฐและเอกชน
  2. นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร
  3. ผู้ดูแลหรือผู้จัดการประจำแปลงเกษตรหรือโรงงานผลิตพืช (Plant Factory) เป็นต้น
  4. นักวิชาการสัตวบาลหรือสัตวบาลประจำฟาร์มหรือหน่วยงานเพาะเลี้ยงสัตว์
  5. ผู้ช่วยสัตวแพทย์ประจำคลีนิกหรือโรงพยาบาลสัตว์
  6. เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการตลาดและการขายผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร
  7. นักพัฒนาท้องถิ่น
  8. ผู้ประกอบการด้านการเกษตรและธุรกิจการเกษตรรุ่นใหม่
  9. นักเทคโนโลยีชีวภาพทางการเกษตร
  10. นักสารสนเทศทางการเกษตร
  11. พนักงานตรวจสอบคุณภาพสินค้าและผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร

 มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ จังหวัดสระแก้ว

ลำดับ

ชื่อ-สกุล

ตำแหน่งวิชาการ

คุณวุฒิ-สาขาวิชา

สถาบันการศึกษา

ปีที่จบ

กลุ่มวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช

1.

นางสาวเจนจิรา นามี

ผู้ช่วยศาสตราจารย์

ปร.ด. (เกษตรศาสตร์)

วท.ม. (เกษตรศาสตร์)

วท.บ. (เทคโนโลยีการจัดการ
ศัตรูพืช)

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ลาดกระบัง

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ลาดกระบัง

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ลาดกระบัง

2560

2557

2555

2.

นางสาวณัฐกานต์
พิสุทธิ์พิบูลวงศ์

อาจารย์

วท.ม. (พืชสวน)

วท.บ. (พืชสวน)

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ลาดกระบัง

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ลาดกระบัง

2561

2557

3.

นางสาวกฤติมา
สระโพธิ์ทอง

อาจารย์

วท.ม. (เกษตรศาสตร์)

วท.บ. (เกษตรศาสตร์)

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ลาดกระบัง

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ลาดกระบัง

2563

2560

กลุ่มวิชาสัตวศาสตร์

4.

นายปณัท สุขสร้อย

อาจารย์

วท.ม. (สัตวศาสตร์)

วท.บ. (เทคโนโลยีการผลิตสัตว์)

มหาวิทยาลัยแม่โจ้

มหาวิทยาลัยแม่โจ้

2558

2554

5.

นายฉัตรชัย เสนขวัญแก้ว

อาจารย์

วท.ม. (สัตวศาสตร์)

วท.บ. (สัตวศาสตร์)

มหาวิทยาลัยแม่โจ้

มหาวิทยาลัยแม่โจ้

2558

2552

6.

นางสาวจารุนันท์
ไชยนาม

อาจารย์

M.Sc. (Animal Science)

วท.บ. (สัตวศาสตร์)

National Ilan University, Taiwan

มหาวิทยาลัยแม่โจ้

2555

2550

Scroll to Top